ข้อมูลฟรี ๆ ดาวน์โหลดไปใช้ ..ในงาน RS ได้ (ตอนที่ 2 / 2)
>> และนี่เป็นอีก 5 แหล่งข้อมูลด้าน RS เพิ่มเติมจาก ..ตอนที่แล้ว . 6. NOAA Class NOAA ย่อจาก National Oceanic
>> และนี่เป็นอีก 5 แหล่งข้อมูลด้าน RS เพิ่มเติมจาก ..ตอนที่แล้ว . 6. NOAA Class NOAA ย่อจาก National Oceanic
ทุกวันนี้ นอกจาก เครื่องมือในการประมวลผลข้อมูลที่สะดวกขึ้น (เช่น Python, R, libraries ต่าง ๆ) และ ซอฟต์แวร์ Opensource ที่มากมาย แบบไม่มีค่าใช้จ่ายแล้ว .
ในบทความนี้ จะกล่าวถึง เรื่องพื้นฐานที่สำคัญอันหนึ่งในงานด้าน Remote Sensing (RS) ซึ่งก็คือ Resolution หรือ ความละเอียด นั่นเอง .. แบ่งได้เป็น 4 ประเภท
ในตอนที่แล้ว เราทิ้งท้ายไว้ว่า การใช้งาน Sensor ทั่ว ๆ ไป สามารถนำมาช่วยในการ Validation กับข้อมูลจาก Satellite ได้อย่างไร . โดยปกติเมื่อใช้ข้อมูล Satellite ในการติดตามการเพาะปลูก
ในยุคปัจจุบัน เราจะเห็น Sensors ต่าง ๆ เต็มไปหมด อย่างเช่น Smart phone ที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน ก็มีทั้ง กล้อง GPS หรือ แม้กระทั่ง
ในช่วงเดือน พ.ย. 2018 แคมป์ไฟ เผาทำลายตอนเหนือของ California ..เป็นเวลามากกว่า 17 วัน ..ทำลายบ้านมากกว่า 13,000 หลังคาเรือน ..และ มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 88
ปัจจุบัน คำว่า Deep Learning ถือเป็นคำที่คุ้นหูพวกเราพอสมควร เนื่องจากเป็นเทคนิคที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในการนำไปใช้ประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) . Deep Learning (DL) จะเป็น Subset ของ
บทความฉบับแรกผมได้เขียนเกี่ยวกับวิวัฒนาการของกองบรรณาธิการของวารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย (RESGAT Journal) นับตั้งแต่จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน (กันยายน 2562) ที่ได้บ่งชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน ซึ่งกองบรรณาธิการสามารถควบคุมได้และไม่ได้ตามหลักธรรมชาติที่เป็นสัจธรรม หลังจากผมได้ร่วมกับกองบรรณาธิการชุดปัจจุบันที่มีดร. กฤษนัยน์ เจริญจิตร มหาวิทยาลัยบูรพา
ผมในฐานะกรรมการของสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย (สสสท) ได้เสนอตัวเพื่อทำหน้าที่บรรณาธิการของวารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย (RESGAT Journal) ซึ่งเป็นวารสารทางวิชาการของสสสท. ที่ได้จัดพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยด้านภูมิสารสนเทศ ทั้งการวิจัยพื้นฐานและการประยุกต์ ตลอดจนบทความทางวิชาการเกี่ยวกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศให้แก่นักวิชาการ นักวิชาชีพ ทั้งภาครัฐและเอกชน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 และวารสารได้การรับรองคุณภาพจากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย